วันพุธที่ 3 สิงหาคม พ.ศ. 2559

ตระกร้าพลาสติก







ความหมาย
        
          ตระกร้าพลาสติก หมายถึง ตระกร้าที่สานมาจากเส้นพลาสติกที่มีลวดลายที่สวยงาม

ที่มาของการทำตระกร้าพลาสติก

          จากการสำรวจความเป็นอยู่ภายในชุมชนพบว่าในฤดูเสร็จจากการทำนา ชาวบ้านภายในชุมชนไม่มีอาชีพเสริมในการประกอบรายได้ทำให้ชาวบ้านบ้างส่วนต้องไปทำงานในเมืองหลวงหรือต่างจังหวัด
ดังนั้นทางองค์การบริหารส่วนตำบลโนนงามจึงจัดโครงการพัฒนางานฝีมือให้กับชาวบ้านในชุมชนเรียนรู้เพื่อนไฃำมาประกอบให้เกิดรายได้แก่ตนเอง

กรมการผลิตตระกร้าพลาสติก

          1.เริ่มจากการตัดเส้นพลาสติกจำนวน 21 เส้น ยาว 150 ซม.
          2.นำเส้นพลาสติกทั้ง 21 มาสานเข้าด้วยกัน ทำก้นของตระกร้า
          3.เริ่มขึ้นรอบข้างของตระกร้า
          4.ทำการเก็บรายละเอียดของเส้นพลาสติกให้สวยงาม
          5.จากนั้นทำการใส่สายของตระกร้า ซึ่งสายของตระกร้าเราสามารถเลือกว่าจะเอาสายแบบไหนก็ได้ตามใจชอบ

ประโยชน์

           1.สร้างรายได้ให้กับครอบครัว
           2.ทำให้ชุมชนมีความก้าวหน้าในการประกอบอาชีพ

ภาคผนวก

   อุปกรณ์ที่ใช้ในการผลิต


   การสานก้นตระกร้า



การขึ้นรอบข้างตระกร้า





เก็บรายละเอียดของตระกร้า



ผลิตภัณฑ์



ผ้าไหม




ความหมาย
ผ้าไหม  เป็นผ้าที่ชาวบ้านทำจากการเลี้ยงไหมแล้วมาทำการมาต้มจนได้เป็นเส้นใยของเส้นไหมแล้วมาทำการทอ

ที่มาของผ้าไหม

ในอดีตบ้านม่วงโป้ หมู่ที่ 1,2 เป็นหมู่บ้านที่มีความยากจนทำให้ชาวบ้านในหมู่บ้านต้องพากันปลูกต้นฝ้ายเลี้ยงไหมเพื่อนำเอามาทำเป็นเส้นใยไหมที่ใช่ทอเป็นเครื่องนุ่งห่ม จนต่อมาปุจจุบันชาวบ้านม่วงโป้ได้สืบสานวัฒนธรรมการเลี้ยงไหม โดยที่มีกลุ่มแม่บ้านจัดทำเป็นกลุ่มใหม่และจัดจำหน่ายให้กับผู้คนที่สนใจ
วิธีทำ

1. หาเก็บฝ้ายที่ได้จากธรรมชาติหรือรังของตัวไหม

















2. นำมาต้มเพื่อให้ฝ้ายแตกตัว

















3. นำมาปั่นให้เป็นเส้นและย้อมสี



4. เก็บใส่หลอดหรือบรรจุภัณฑ์













5. นำมามัดสอดเรียงตามหูกตามภูมิปัญญาชาวบ้าน














6. นำเส้นด้ายมาสอดไปมาและพัดหูก





7. เมื่อได้ยาวพอสมควรแล้วนำมาตกแต่งขอบให้สวยงาม















8. สามารถนำไปจำหน่ายหรือใช้นุ่งห่ม





ข้าวเม่า


วันจันทร์ที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2559

กระติบข้าว



ความเป็นมาของกระติบข้าว

กระติบข้าวเป็นภาชนะใส่ข้าวที่เราทำการนึ่งเสร็จแล้วเก็บไว้รับประทานและยังเป็นภูมิปัญญาของชาวบ้านตั้งแต่สมัยปู่ย่าตายายของเราได้ทำต่อกันมา โดยที่ในบ้านม่วงโป้ได้เป็นหมู่บ้านที่มีการจักรสานและหนึ่งในนั้นมีกระติบข้าวด้วยซึ่งได้ทำการจักรสานและจำหน่ายที่ปากทางเข้าหมู่บ้านเป็นแหล่งรวมเครื่องจักรสานของบ้านม่วงโป้

วัสดุอุปกรณ์
1. ไม้ไผ่บ้าน                       
2. ด้ายไนล่อน
3. เข็มเย็บผ้าขนาดใหญ่                       
4.   กรรไกร
5. มีดโต้                                  
6. เลื่อย
7. เหล็กหมาด (เหล็กแหลม)    
8. ก้านตาล
9. เครื่องขูดตอก                       
10. เครื่องกรอด้าย

ขั้นตอนการทำ

1การเตรียมไม้ไผ่สำหรับการสานกระติบข้าวนั้น ควรมีอายุไม่เกินหนึ่งปี โดยเลือกไผ่ที่โตเพียงฝนเดียวมาทำก่องข้าวหรือสานกระติบ สำหรับไผ่ที่ใช้ทำกระติบได้ดีที่สุดจะมีอายุประมาณ 4-5 เดือน
2. เมื่อเหลาไม้ไผ่จนมีขนาดเหลือความหนาประมาณ 0.05 เชนติเมตร ก็จะขูดเสี้ยนไม้ออก เพื่อให้ตอกมีความเรียบและอ่อนบางที่สุด กระติบที่ได้ก็จะสวย และเวลาสานถ้าหากว่าเป็นตอกอ่อนก็จะทำให้สานง่ายไม่เจ็บมืออีกด้วย
 3. เมื่อได้ตอกมาประมาณ 100-150 เส้นแล้ว ก็จะเริ่มสานกระติบข้าวได้ เมื่อลงมือสานมักจะเริ่มต้นสานใช้ตอก 6 เส้น แล้วสานด้วยลายสอง โดยทิ้งชายตอกให้เหลือประมาณ เซนติเมตร เมื่อสานได้ยาวจนชายตอกอีกด้านเหลือประมาณ เซนติเมตรให้นำชายทั้งสองข้างมาประกับกันโดยใช้ลายสอง
4. การขึ้นลายกระติบ ซึ่งจะขึ้นอยู่กับความต้องการของคนที่สานว่าต้องการใช้ลายอะไร เพราะแต่ละลายจะขึ้นต่างกัน ลายกระติบที่นิยมสาน คือลายข้างกระแตสองยืนและสามยืน” 
5. ส่วนก้นของกระติบข้าวนั้นจะสานเป็นแผ่นแบนสองอันมาประกบกันเข้าแล้วผูกติดกับส่วนตัวกระติบ เรียกขั้นตอนนี้ว่า อัดตุ๋” ซึ่งมีการเย็บอยู่สองวิธีคือ การเย็บโดยใช้หวาย กับเย็บด้วยการใช้ด้ายเย็บ
6. ฐานของกระติบ ซึ่งคนอีสานจะเรียกว่า ตีนติบข้าว” เป็นส่วนหนึ่งมี่ต้องรับน้ำหนักและจำเป็นที่จะต้องทำให้แข็งแรง ดังนั้นส่วนใหญ่จึงใช้ก้านตาลมาเหลาแล้วโค้งให้เป็นวงกลมเท่ากับขนาดของก้นกระติบข้าว 
7. ฝากระติบข้าวนั้นจะสานเช่นเดียวกับตัวกระติบเพียงแต่ให้ใหญ่กว่าเพื่อสวมครอบปิดเปิดได้ กระติบข้าวที่สานเสร็จแล้วไม่ควรเก็บไว้ในที่ชื้น เพราะจะทำให้ขึ้นราได้ง่ายและมีมอดเจาะ และควรเก็บไว้ในที่มีอากาศถ่ายเทได้สะดวก

ภาคผนวก















Hey, we've just launched a new custom color Blogger template. You'll like it - https://t.co/quGl87I2PZ
Join Our Newsletter